FASCINATION ABOUT วันมาฆบูชา

Fascination About วันมาฆบูชา

Fascination About วันมาฆบูชา

Blog Article

พระพุทธพจน์คาถาแรกทรงกล่าวถึง พระนิพพาน ว่าเป็นจุดมุ่งหมายหรืออุดมการณ์อันสูงสุดของบรรพชิตและพุทธบริษัท อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่น ดังพระบาลีว่า "นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา"

จัดบอร์ดหรือจัดนิทรรศการตามโรงเรียน หรือหน่วยงานราชการต่างๆ เพื่อเผยแพร่วันสำคัญทางพุทธศาสนา ซึ่งจะมีการบอกถึงที่มา ประวัติของวันมาฆบูชา และประวัติของพระพุทธเจ้า และหลักคำสอนต่างๆ เพื่อเป็นความรู้และการส่งเสริมสิ่งดีๆ ให้กับเยาวชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดความสำนึกถึงหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า ทำความดีละเว้นความชั่ว

พระภิกษุสงฆ์ทุกองค์ที่ได้มาประชุมในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็นผุ้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆองค์

สถานที่สำคัญเนื่องด้วยวันมาฆบูชา (พุทธสังเวชนียสถาน)

๑. ส่วนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ ๙ เดือนขณะนั้นเมื่อเสร็จพุทธกิจแสดงธรรมที่ถ้ำสุกรขาตาแล้ว เสด็จมาประทับที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน วันนั้นตรงกับวันเพ็ญ เดือนมาฆะหรือเดือน ๓ในเวลาบ่ายพระอรหันต์สาวกของพระพุทธเจ้า มาประชุม พร้อมกัน ณ ที่ประทับของพระพุทธเจ้า นับเป็นเหตุอัศจรรย์ ที่มีองค์ประกอบสำคัญ ๔ ประการ เรียกว่าว่า วัน จาตุรงคสันนิบาต คำว่า "จาตุรงค สันนิบาต" แยกศัพท์ได้ดังนี้ คือ "จาตุร" แปลว่า ๔ "องค์" แปลว่า ส่วน "สันนิบาต" แปลว่า ประชุม ฉะนั้นจาตุรงคสันนิบาตจึง หมายความว่า "การประชุมด้วยองค์ ๔" กล่าวคือมีเหตุการณ์พิเศษที่เกิดขึ้นพร้อมกันในวันนี้ คือ

ดังนั้น วันมาฆบูชาจึงถือเป็นวันแห่งการแผ่ขยายความรักและความปรารถนาที่เราไปสู่มหาชน เพื่อสร้างสันติสุข วันมาฆบูชา และสันติภาพโลกให้เกิดขึ้นในที่สุด

กิจกรรมที่พุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติในวันมาฆบูชา

สำหรับการถือปฏิบัติ/กิจกรรมที่ศาสนิกพึงปฏิบัติ (ในวันสำคัญ)

เมื่อถึงเวลาค่ำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จออก ทรงจุดธูปเทียนนมัสการ พระสงฆ์ทำวัตรเย็นและสวดคาถาโอวาทปาติโมกข์

ณ พระมหาธรรมกายเจดีย์ วัดพระธรรมกาย

อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ แปล :

เป็นวันที่พระจันทร์เต็ม ดวงกำลังเสวยมาฆฤกษ

หลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน วัดเวฬุวันได้รับการดูแลมาตลอด โดยเฉพาะมูลคันธกุฎีที่มีพระสงฆ์เฝ้าดูแลทำการปัดกวาดเช็ดถูปูลาดอาสนะและ ปฏิบัติต่อสถานที่ ๆ พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ทุก ๆ แห่ง เหมือนสมัยที่พระพุทธองค์ทรงพระชนมชีพอยู่มิได้ขาด โดยมีการปฏิบัติเช่นนี้ติดต่อกันกว่าพันปี

ความหดหู่ท้อแท้ ง่วงเหงาหาวนอน (ถีนะมิทธะ)

Report this page